วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2566

อริยสัจ 4 ( หนทางแห่งการดับทุกขํ )

⠀ ⠀
ทุกขํ การเกิด ชรา การแก่ การเก่า มรณะ ( การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
⠀⠀ ⠀ ⠀
" ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธํ หรือขันธํ 5 "
⠀ ⠀
รูป ความยึดมั่นถือมั่นใน รูป '' เมื่อยึดมั่นถือมั่นจึงเกิดตัณหาใน รูป ''
เมื่อมีตัณหาจึงเกิด ความทุกขํใน รูป
เมื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในรูป ตัณหาก็ดับ ทุกขํ ก็ดับ "
⠀ ⠀
เวทนา ความยึดมั่นถือมั่นใน เวทนา '' เมื่อยึดมั่นถือมั่นจึงเกิดตัณหาใน เวทนา ''
เมื่อมีตัณหาจึงเกิด ความทุกขํใน เวทนา
เมื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในเวทนา ตัณหาก็ดับ ทุกขํ ก็ดับ "
⠀ ⠀
สัญญา ความยึดมั่นถือมั่นใน สัญญา '' เมื่อยึดมั่นถือมั่นจึงเกิดตัณหาใน สัญญา ''
เมื่อมีตัณหาจึงเกิด ความทุกขํใน สัญญา
เมื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในสัญญา ตัณหาก็ดับ ทุกขํ ก็ดับ "
⠀ ⠀
สังขาร ความยึดมั่นถือมั่นใน สังขาร '' เมื่อยึดมั่นถือมั่นจึงเกิดตัณหาใน สังขาร ''
เมื่อมีตัณหาจึงเกิด ความทุกขํใน สังขาร
เมื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในสังขาร ตัณหาก็ดับ ทุกขํ ก็ดับ "
⠀ ⠀
วิญญาณ ความยึดมั่นถือมั่นใน วิญญาณ ' เมื่อยึดมั่นถือมั่นจึงเกิดตัณหาใน วิญญาณ 6 ''
เมื่อมีตัณหาจึงเกิด ความทุกขํใน วิญญาณ 6
มื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในวิญญาณ 6 ตัณหาก็ดับ ทุกขํ ก็ดับ "
⠀ ⠀
" ไม่มีสิ่งใดในโลกท่านเข้าไปยึดถือแล้วจะไม่เกิดความทุกข์ "
⠀ ⠀
สมุทัย สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ( ตัณหา )
⠀ ⠀
กามตัณหา " ความทะยานอยากใน กามตัณหา เกิดความทุกขํก็เกิด " เมื่อความทะยานอยากใน กามตัณหา ดับความทุกขํก็ดับ เพาะตัณหาคือเหตุให้เกิดทุกขํ
⠀ ⠀
ภวตัณหา " ความทะยานอยากใน ภวตัณหา เกิดความทุกขํก็เกิด " เมื่อความทะยานอยากใน ภวตัณหา ดับความทุกขํก็ดับ เพาะตัณหาคือเหตุให้เกิดทุกขํ
⠀ ⠀
วิภวตัณหา " ความทะยานอยากใน วิภวตัณหา เกิดความทุกขํก็เกิด " เมื่อความทะยานอยากใน วิภวตัณหา ดับความทุกขํก็ดับ เพาะตัณหาคือเหตุให้เกิดทุกขํ
⠀⠀ ⠀ ⠀⠀⠀ ⠀ ⠀⠀⠀ ⠀ ⠀⠀⠀ ⠀
นิโรธ ความดับทุกข์ ( ตัณหา )
⠀ ⠀
จาโค ความสละตัณหานั้น , ปะฏินิสสัคโค ความวางตัณหานั้น , มุตติ การปล่อยตัณหานั้น , อะนาละโย ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น
⠀ ⠀
มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นำไปสู่นิโรธหรือนำไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น