วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

พลังงานที่มองไม่เห็นของน้ำ แท้จริงแล้วมีอยู่ช่องว่างหรืออากาศธาตุนั้นเอง และสามารถรับพลังงานได้ไม่จำกัด




พลังงานน้ำที่แท้ เป็นพลังงานมืดที่มองไม่เห็นของน้ำ แท้จริงแล้วมีอยู่ช่องว่างหรืออากาศธาตุนั้นเอง ไม่สามารถตรวจจับได้ในเทคโนโลยีปัจจุบัน  เช่น น้ำมนต์ และน้ำที่ผ่านกระบวนการเพิ่มพลังให้น้ำ

น้ำ (โมเลกุล)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สำหรับแง่มุมทั่วไปของน้ำ ดูที่ น้ำ
น้ำ
โครงสร้างอะตอมของโมเลกุลของน้ำ
ทั่วไป
ชื่อเคมีน้ำ (water)
ชื่ออื่นaqua
hydrogen oxide
hydrogen hydroxide
hydrate
oxidane
hydroxic acid
dihydrogen monoxide
hydronium hydroxide
hydroxyl acid
dihydrogen oxide
hydrohydroxic acid
μ-oxido hydrogen
น้ำมวลเบา (light water)
สูตรโมเลกุลH2O
มวลโมเลกุล18.02 g/mol
ลักษณะทั่วไปโปร่งใส, เกือบ
เป็นของเหลวไม่มีสี
มีสีน้ำเล็กน้อย [1]
เลขทะเบียน CAS[7732-18-5]
คุณสมบัติ
ความหนาแน่น และ เฟส1 g/cm3, ของเหลวที่ 4℃
.917 g/cm3, ของแข็ง
จุดหลอมเหลว32℉, 0 (273.15 K)
จุดเดือด212℉, 100℃ (373.15 K)
ความจุความร้อนy4186 J/(kg·K)
สภาพกรด (pKa)15.74
สภาพเบส (pKb)15.74
ความหนืดmPa·s at 20℃
โครงสร้าง
รูปร่างโมเลกุลnon-linear bent
โครงสร้างผลึกHexagonal
ดู น้ำแข็ง
Dipole moment1.85 D
อันตราย
MSDSExternal MSDS
อันตรายหลักไม่มีอันตราย
หมายเลข RTECSZC0110000
หน้าข้อมูลเสริม
โครงสร้างและ
คุณสมบัติ
nεr, etc.
ข้อมูลทาง
อุณหพลศาสตร์
Phase behaviour
Solid, liquid, gas
Spectral dataUVIRNMRMS
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ตัวทำละลายที่เกี่ยวข้องacetone
เมทานอล
สารประกอบที่เกี่ยวข้องน้ำแข็ง
น้ำมวลหนัก
Except where noted otherwise, data are given for
materials in their standard state (at 25°C, 100 kPa)
Infobox disclaimer and references
น้ำมี สูตรเคมี H2O, หมายถึงหนึ่ง โมเลกุล ของน้ำประกอบด้วยสองอะตอมของ ไฮโดรเจน และหนึ่งอะตอมของ ออกซิเจน เมื่ออยู่ในภาวะ สมดุลพลวัต(dynamic equilibrium) ระหว่างสถานะ ของเหลว และ ของแข็ง ที่ STP (standard temperature and pressure : อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน) ที่อุณหภูมิห้อง เป็นของเหลวเกือบ ไม่มีสี, ไม่มีรส, และ ไม่มีกลิ่น บ่อยครั้งมีการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ว่ามันเป็น ตัวทำละลายของจักรวาล และน้ำเป็นสารประกอบบริสุทธิ์ชนิดเดียวเท่านั้นที่พบในธรรมชาติทั้ง 3

รูปแบบต่าง ๆ ของน้ำ[แก้]

น้ำมีหลายรูปแบบดังนี้
เหนืออุณหภูมิวิกฤติ และความดัน (647 K และ 22.064 MPa), ถูกกำหนดให้อยู่ในสถานะซูเปอร์คริทิคัล (supercritical condition)
น้ำมวลหนัก (Heavy water) ซึ่งมีคุณสมบัติทางเคมีทั่วไปเหมือนน้ำธรรมดา เป็นน้ำที่อะตอมของไฮโดรเจนถูกแทนที่โดยไอโซโทปที่หนักกว่า ซึ่งเรียกว่า ดิวเทอเรียม (deuterium) น้ำมวลหนักนี้ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ เพื่อลดความเร็วของนิวตรอน H2O ไม่ใช่โมเลกุลของน้ำ

สารธรรมดา[แก้]

น้ำในจักรวาล (Water in the Universe)[แก้]

น้ำถูกพบแล้วว่ามีอยู่ใน อินเตอร์สเทลลาร์ คลาวด์ (interstellar cloud) ใน กาแลกซี ของเรา ใน ทางช้างเผือก (Milky Way)เป็นที่เชื่อกันด้วยว่าน้ำมีอยู่มากมายใน กาแลกซี อื่นๆ ด้วย เพราะว่าส่วนประกอบของมันเป็น ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน, ซึ่งเป็นธาตุที่มีอยู่มากมายใน จักรวาล.
อินเตอร์สเทลลาร์ คลาวด์ ควบแน่นเป็น โซลาร์ เนบูลา (solar nebula) และ ระบบสุริยะ (solar system) น้ำเริ่มแรกพบใน ดาวหางดาวเคราะห์, และ ดาวบริวาร ในระบบสุริยะน้ำถูกพบในรูปของของเหลว และน้ำแข็ง ซึ่งมีใน  :




น้ำในโลก (Water on Earth)[แก้]

วงจรน้ำ (คำในวิทยาศาสตร์เรียกว่า ไฮโดรโลจิกไซเคิล (hydrologic cycle)) คือการแลกเปลี่ยนน้ำอย่างต่อเนื่องภายใน ไฮโดรสเฟีย (hydrosphere) ระหว่าง บรรยากาศ, น้ำในดินน้ำผิวดินน้ำใต้ดิน, และ ต้นไม้
ปริมาตรโดยประมาณของน้ำในโลก (ยอดรวมของน้ำที่มีในโลก) คือ 1,360,000,000 กม³ (326,000,000 ไมล์³). ซึ่งแจงเป็นรายละเอียดได้ดังนี้:
  • 1,320,000,000 กม³ (316,900,000 ไมล์³ หรือ 97.2%) อยู่ใน น้ำทะเล
  • 25,000,000 กม³ (6,000,000 ไมล์³ หรือ 1.8%) อยู่ใน ธารน้ำแข็ง และลานน้ำแข็ง
  • 13,000,000 กม³ (3,000,000 ไมล์³ หรือ 0.9%) อยู่ในรูป น้ำใต้ดิน.
  • 250,000 กม³ (60,000 ไมล์³ หรือ 0.02%) เป็น น้ำจืด ในทะเลสาบ, และแม่น้ำ
  • 13,000 กม³ (3,100 ไมล์³ หรือ 0.001%) เป็นไอน้ำในบรรยากาศ
น้ำที่เป็นของเหลวพบได้ใน ตัวของน้ำเอง, (bodies of water) เช่น มหาสมุทรทะเลทะเลสาบแม่น้ำธารน้ำ,คลอง, หรือ สระน้ำ น้ำส่วนใหญ่ในโลกนี้อยู่ในรูปของ น้ำทะเล น้ำที่อยู่ในบรรยากาศโลกจะอยู่ทั้งในรูปไอน้ำและ น้ำที่เป็นของเหลว น้ำใต้ดินจะอยู่ใน ชั้นของดินและหิน ถึงแม้ปกติน้ำจะมีจุดเดือดที่ 100℃ แต่ที่ใต้ทะเลลึก ซึ่งมีความร้อนและความกดดันสูง จุดเดือดของน้ำอาจอยู่ที่ 400℃ และที่ยอดเขาเอเวอเรส (Mount Everest) จุดเดือดของน้ำอาจอยู่ที่ 70℃

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

กลศาสตร์ควอนตัม ของมักซ์ พลังค์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2461




กลศาสตร์ควอนตัม
หลักความไม่แน่นอน
ความรู้เบื้องต้น
[ซ่อน]นักวิทยาศาสตร์
พลังค์ · ไอน์สไตน์ · บอร์ · ซอมเมอร์เฟลด์ · โบส · เครเมอร์ส · ไฮเซนแบร์ก· บอร์น · จอร์แดน · เพาลี · ดิแรก · เดอ เบรย ·ชเรอดิงเงอร์ · ฟอน นิวมานน์ · วิกเนอร์ · ไฟน์แมน · Candlin · บอห์ม · เอฟเรตต์ · เบลล์ · เวน
จัดการ: แม่แบบ • พูดคุย • แก้ไข
ฟังชันคลื่น (Wavefunction) ของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนที่ทรงพลังงานกำหนดแน่ (ที่เพิ่มลงล่าง n = 1, 2, 3, ...) และโมเมนตัมเชิงมุม (เพิ่มทางข้าง: s, p, d,...
กลศาสตร์ควอนตัม (อังกฤษquantum mechanics) เป็นสาขาหนึ่งในทฤษฎีรากฐานของฟิสิกส์ ที่มีความสามารถในการอธิบายผลการทดลองต่างๆ และถูกใช้แทนที่กลศาสตร์นิวตัน (หรือกลศาสตร์ดั้งเดิม) และ กลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์ (หรือทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า) ซึ่งกลศาสตร์ดั้งเดิมเหล่านี้ไม่สามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ในวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม แต่กลศาสตร์ควอนตัมนั้นสามารถคำนวณได้แม่นยำมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขนาดของวัตถุที่สนใจนั้นเล็กถึงขนาดอะตอม จึงกล่าวได้ว่ากลศาสตร์ควอนตัมนั้นเป็นรากฐานเบื้องต้นของฟิสิกส์ที่มีความสำคัญมากกว่ากลศาสตร์นิวตันและกลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์ หรือใกล้เคียงกับความจริงมากกว่านั่นเอง
กลศาสตร์ควอนตัมเริ่มในปี พ.ศ. 2443 เมื่อ มักซ์ พลังค์ ตีพิมพ์ทฤษฎีที่อธิบายถึงการปล่อยสเปกตรัมออกจากวัตถุดำ ซึ่ง 18 ปีต่อมา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
ข้อแตกต่างของกลศาสตร์ดั้งเดิมและกลศาสตร์ควอนตัม กลายเป็นเรื่องประหลาด จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2469 แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก และ แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ สามารถอธิบายทฤษฎีดังกล่าวทางคณิตศาสตร์ได้
สำหรับความเกี่ยวเนื่องกับทฤษฎีทางฟิสิกส์อื่นๆ นั้น หากรวมสัมพัทธภาพพิเศษลงในกลศาสตร์ควอนตัม จะเรียกว่า พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม หรือทฤษฎีสนามควอนตัม
ในปัจจุบัน ถือได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัม และ สัมพัทธภาพทั่วไป เป็นเสาหลักของฟิสิกส์ยุคใหม่ ซึ่งยังไม่มีผู้ใดสามารถรวมสองทฤษฎีนี้เข้าด้วยกันได้ แต่ทฤษฎีสตริงอาจเป็นคำตอบสำหรับปัญหานี้

สูตรการแผ่รังสีของวัตถุดำ[แก้]

เมื่อวัตถุถูกทำให้ร้อน มันจะปล่อยรังสีความร้อน ในรูปแบบของการแผ่รังสีแม่เหล็กย่านอินฟราเรด (ใต้แดง) เมื่อวัตถุกลายเป็นวัตถุแดงร้อน (red-hot) เราจะสามารถเห็นความยาวคลื่นสีแดงได้ แต่รังสีความร้อนส่วนใหญ่ที่แผ่ออกมายังคงเป็นอินฟราเรด จนกระทั่งวัตถุร้อนเท่ากับพื้นผิวของดวงอาทิตย์(ประมาณ 6000 °C ที่ที่แสงส่วนใหญ่เป็นสีขาว)
สูตรการแผ่รังสีของวัตถุดำ เป็นผลงานแรกๆ ของทฤษฎีควอนตัม ในกลางคืน วันอาทิตย์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2443 โดยพลังก์ มันมาจากรายงานของรูเบนส์(Rubens) จากการค้นพบล่าสุดในการค้นหาอินฟราเรด คืนนั้นเองพลังก์เขียนสูตรลงบนโปสการ์ด รูเบนส์ ได้รับโปสการ์ดนั้นในเช้าวันถัดมา
เมื่อ
  • n = เลขควอนตัม
  • E = พลังงาน
  • f = ความถี่ single mode ที่แผ่รังสี


มักซ์ พลังค์
Max planck.jpg
ภาพถ่ายของมักซ์ พลังค์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบล
สาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2461
เกิด23 เมษายน พ.ศ. 2401
คีล  จักรวรรดิเยอรมัน
ถึงแก่กรรม4 ตุลาคม พ.ศ. 2490
เกิททิงเงิน  เยอรมนี
สัญชาติ เยอรมนี
ชาติพันธุ์ ชาวเยอรมัน
การศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยคีล
อาชีพนักฟิสิกส์
เป็นที่รู้จักจากรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2461
ผลงานเด่นดูในบทความ

วันที่มีการค้นพบควอนตัม[แก้]

จากการทดลอง พลังก์ค้นพบค่าของ h และ k ดังนั้นเขาสามารถรายงานในการประชุม the German Physical Society ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2443 ที่ซึ่งการแจงหน่วย หรือ quantization (ของพลังงาน) ถูกเปิดเผยเป็นครั้งแรก ค่าของเลขอโวกาโดร (the Avogadro-Loschmidt number) , จำนวนของโมเลกุลในโมล (mole) และหน่วยของประจุไฟฟ้า มีความถูกต้องมากขึ้นหลังจากนั้นจนถึงปัจจุบัน

ควอนตัม เอนแทงเกิลเมนต์[แก้]

ควอนตัม เอนแทงเกิลเมนต์ ครั้งหนึ่งเคยถูกมองเป็นเรื่องซับซ้อนและลึกลับเกินกว่าจะเป็นจริงได้ มาปัจจุบันกำลังกลายเป็นเรื่องที่ตื่นเต้นมาก และมีแนวโน้มจะเป็นหนึ่งในหลักการสำคัญของเทคโนโลยีแห่งศตวรรษที่ 21 อนุภาคที่พัวพันกัน กำลังจะถูกใช้ในการสร้างระบบการสื่อสารที่เป็นความลับ อาจเป็นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ควอนตัมความเร็วสูงพิเศษ และแม้แต่เครื่อง "Teleportation" ในสไตล์ของภาพยนตร์ชุดสตาร์เทรค นักทฤษฎีในปัจจุบันคิดว่า เอนแทงเกิลเมนต์อาจเป็นปรากฏการณ์ค่อนข้างทั่วไปในธรรมชาติ ความคิดที่นำมาสู่ความเป็นไปได้ว่า เรากำลังอาศัยอยู่ในใยคอสมิกจริงๆ ที่เชื่อมโยงถึงกันและกัน ข้ามมิติของตำแหน่งและเวลา

อ้างอิง[แก้]

  • Speakable and unspeakable in Quantum mechanics by John Bell (Cambridge UP, 1989)
  • Quantum: A guide for the perplexed by Jim Al-Khalili ( Weidenfeld & Nicolson, 2003)
  • 25 ความคิดพลิกโลก (วี.วิชช์.สำน้กพิมพ์, 2551)



จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี